คอนกรีตผสมเสร็จ vs ผสมปูนเอง แบบไหนคุ้มค่า แข็งแรง

ในปัจจุบันนี้คอนกรีตมีความสำคัญกับงานก่อสร้างค่อนข้างมากพอสมควร เมื่อเปรียบเทียบวัสดุก่อสร้างที่ใช้งานในประเภทเดียวกัน เช่น ไม้ ซึ่งเป็นวัสดุก่อสร้างหลักในสมัยก่อนและปัจจุบันไม้เป็นของหายาก พบว่า คอนกรีตมีความคงทน แข็งแรง สามารถปรับปรุงส่วนผสมเพื่อให้ตรงกับการใช้งานได้อย่างเหมาะสม คอนกรีตจึงเป็นวัสดุที่ใช้งานอย่างแพร่หลาย แต่หลายคนอาจยังสงสัยว่าจะเลือกใช้สูตรไหน ระหว่างคอนกรีตผสมเสร็จ หรือ ผสมปูนใช้เอง คอนกรีต คืออะไร คอนกรีต เป็นวัสดุผสมที่นิยมใช้ในงานก่อสร้างประกอบด้วย 3 ส่วนหลักคือ ปูนซีเมนต์ วัสดุผสม (เช่น หิน ทราย หรือ กรวด) และ น้ำ โดยอาจจะมีสารเคมีเติมเพิ่มเข้าไปสำหรับคุณสมบัติด้านอื่น เมื่อผสมเสร็จคอนกรีตจะแข็งตัวอย่างช้าๆ ซึ่งน้ำและซีเมนต์จะทำปฏิกิริยาทางเคมีกันในลักษณะที่เรียกว่าการไฮเดรชัน โดยซีเมนต์จะเริ่มจับตัวกับวัสดุอื่นและแข็งตัว ซึ่งในสถานะนี้จะนิยมเรียกกันว่าคอนกรีต ความแข็งแรงของคอนกรีตจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ หลังจากที่ผสม และยังแข็งแรงขึ้นภายหลังจากการแข็งตัว โดยประมาณหลังจากแข็งตัวแล้ว 28 วัน ความแข็งแรงจะเริ่มคงที่ ทำไมคอนกรีต จึงแข็งแรง คอนกรีตมีใช้กันในงานก่อสร้างหลายชนิด ซึ่งรวมถึง อาคาร ถนน เขื่อน สะพาน อนุสาวรีย์ และงานก่อสร้างต่างๆ ซึ่งมีเห็นได้ทั่วไป คุณสมบัติหลักของคอนกรีตคือการรับแรงอัดสูง ในขณะที่สามารถรับแรงดึงได้ต่ำ (ประมาณ…

คอนกรีตผสมเสร็จ “เทใต้น้ำ” ทำได้ไหม

คอนกรีตผสมเสร็จ จัดว่าเป็นหนึ่งในวัสดุก่อสร้างที่เป็นหัวใจสำคัญในงานก่อสร้างทั้งขนาดเล็กจนไปถึงใหญ่ โดยคอนกรีตผสมเสร็จทั่วไปจะมีส่วนผสมหลัก ๆ ตามธรรมชาติก็คือ หิน กรวด และทราย ผสมกับน้ำยาทางเคมีที่ทำให้มีคุณสมบัติเป็นของเหลวในช่วงเวลาหนึ่ง และเกิดการแข็งตัวเป็นโครงสร้างมีแข็งแรงตามแบบที่กำหนดไว้ การใช้งานคอนกรีตผสมเสร็จโดยทั่วไปเรามักจะคุ้นเคยกับงานก่อสร้างตามไซต์งานที่อยู่บนภาคพื้นดินอยู่บ่อยครั้ง หรือถ้าต้องการเทคอนกรีตในบริเวณที่มีน้ำขังก็จะทำการสูบน้ำออกก่อน แล้วถึงเทคอนกรีตภายหลัง แต่เชื่อว่าพี่ ๆ หลายคนคงเคยได้ยินว่า คอนกรีตผสมเสร็จ สามารถเทใต้น้ำได้ ซึ่งจะทำไปทำไม ลองตามมาดูกัน ทำไมต้องเท คอนกรีตผสมเสร็จ ในน้ำ ? อย่างที่บอกว่าโดยทั่วไปเรามักเห็นการใช้งานคอนกรีตผสมเสร็จกับงานก่อสร้างตามภาคพื้นดินที่เห็นด้วยตา ทำให้เราติดภาพและเกิดความคุ้นชินกับการใช้งานคอนกรีตในลักษณะแบบนั้น แต่จะมีงานก่อสร้างบางประเภทที่เราต้องเทคอนกรีตลงไปใต้น้ำ เพราะไม่สามารถสูบน้ำออกไปได้ หรือทำไปแล้วก็ไม่คุ้มค่า ซึ่งจะขอยกตัวอย่างง่าย ๆ เลยก็คืองานตอม่อสะพาน บางครั้งเราก็ต้องเทฐานตอม่อใต้น้ำไปแบบนั้นจริง ๆ ครับ นอกจากงานตอม่อสะพานแล้วก็ยังมีงานเสาเข็มเจาะขนาดใหญ่ อย่างเช่น การก่อสร้างตึกสูง หรือที่คุ้นตาอยู่เป็นประจำในตอนนี้ ก็คือการก่อสร้างรถไฟฟ้าความเร็วสูงนั่นเอง ซึ่งการใช้เสาเข็มใหญ่ขนาดนี้ต้องเจาะพื้นดินไปลึกมาก ๆ จนถึงชั้นที่มีแหล่งน้ำใต้ดิน ข้อจำกัดของการเทคอนกรีตผสมเสร็จใต้น้ำ มีอะไรบ้าง ? โดยปกติการเทคอนกรีตผสมเสร็จในงานทั่วไป จะมีการเข้าไม้แบบ ผูกเหล็ก เทคอนกรีต จี้และปาดปูน แต่ถ้าต้องเทคอนกรีตใต้น้นั้นแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง เพราะเราไม่สามารถมองเห็นหรือจัดการกับคอนกรีตด้วยคนใต้น้ำได้ การตรวจสอบในจุดที่เทก็ทำได้ยาก ดังนั้งจึงต้องวางแผนและทำทุกอย่างตามประบวนการให้ถูกต้องอย่างแม่นยำ เพื่อลดปัญหาในขณะเทให้ได้มากที่สุด หากใช้คอนกรีตผสมเสร็จตามที่ใช้อยู่ทั่วไป…

ความสำคัญของคอนกรีต

1.ความสำคัญของคอนกรีต บทนำ                 เนื่องจากปัจจุบันคอนกรีตมีสำคัญกับงานก่อสร้างซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาของประเทศ     เมื่อเปรียบเทียบวัสดุก่อสร้างที่ใช้งานในประเภทเดียวกัน เช่น ไม้  ซึ่งเป็นวัสดุก่อสร้างหลักในสมัยก่อนและปัจจุบันไม้เป็นของหายาก พบว่า คอนกรีตมีความคงทน  แข็งแรง  สามารถปรับปรุงส่วนผสมเพื่อให้ตรงกับการใช้งานได้อย่างเหมาะสม  คอนกรีตจึงเป็นวัสดุที่ใช้งานอย่างแพร่หลาย 2.หลักการ คอนกรีต เป็นวัสดุผสมที่นิยมใช้ในงานก่อสร้างประกอบด้วย 3 ส่วนหลักคือ ปูนซีเมนต์ วัสดุผสม (เช่น หิน ทราย หรือ กรวด) และ น้ำ โดยอาจจะมีสารเคมีเติมเพิ่มเข้าไปสำหรับคุณสมบัติด้านอื่น เมื่อผสมเสร็จคอนกรีตจะแข็งตัวอย่างช้าๆ ซึ่งน้ำและซีเมนต์จะทำปฏิกิริยาทางเคมีกันในลักษณะที่เรียกว่าการไฮเดรชัน โดยซีเมนต์จะเริ่มจับตัวกับวัสดุอื่นและแข็งตัว ซึ่งในสถานะนี้จะนิยมเรียกกันว่าคอนกรีต ความแข็งแรงของคอนกรีตจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆหลังจากที่ผสม และยังแข็งแรงขึ้นภายหลังจากการแข็งตัว โดยประมาณหลังจากแข็งตัวแล้ว 28 วัน ความแข็งแรงจะเริ่มคงที่ คอนกรีตมีใช้กันในงานก่อสร้างหลายชนิด ซึ่งรวมถึง อาคาร ถนน เขื่อน สะพาน อนุสาวรีย์ และงานก่อสร้างต่างๆ ซึ่งมีเห็นได้ทั่วไป คุณสมบัติหลักของคอนกรีตคือการรับแรงอัดสูง ในขณะที่สามารถรับแรงดึงได้ต่ำ (ประมาณ 10% ของแรงอัด) โดยเมื่อต้องการให้คอนกรีตสามารถรับแรงดึง จะมีการเสริมวัสดุอื่นเพิ่มเข้าไปในคอนกรีตโดยจะเรียกว่า คอนกรีตเสริมแรง หรือคอนกรีตเสริมเหล็กที่เรียกกัน (โดยเสริมแรงด้วยเหล็ก) วัสดุเหล่านี้จะช่วยรับแรงดึงภายในคอนกรีต ซึ่งงานโครงสร้างอาคารส่วนใหญ่นิยมใช้คอนกรีตเสริมแรงแทนที่คอนกรีตเปลือย นอกจากนี้ในงานก่อสร้างยังมีการใช้วิธีการที่เรียกว่า คอนกรีตอัดแรง โดยทำการใส่แรงเข้าไปในคอนกรีตหล่อสำเร็จที่ หล่อมาจากโรงงาน โดยเมื่อนำไปใช้งาน แรงที่ใส่เข้าไปในคอนกรีตจะหักล้างกับน้ำหนักของตัวคอนกรีตเองและน้ำหนักที่ เพิ่มขึ้นมา ซึ่งวิธีการนี้จะทำให้คอนกรีตสามารถรับน้ำหนักได้เพิ่มมากขึ้น โดยงานสะพานและทางยกระดับ นิยมใช้คอนกรีตอัดแรงคอนกรีต จะมีสัดส่วนปูนซีเมนต์ต่อทราย ต่อหิน ดังนี้ สัดส่วน 1 : 1.5 :…

การใช้เศษโฟมเก่าในคอนกรีตบล็อกประดับ

ปัจจุบันในประเทศไทยมีเศษโฟมเก่าเหลือทิ้งเป็นจำนวนมาก ซึ่งเป็นปัญหาทางมลภาวะที่สำคัญของประเทศ หาก สามารถนำเศษโฟมเหลือทิ้งกลับมาใช้ใหม่ จะเป็นการลดปริมาณขยะลงได้ ในการวิจัยครั้งนี้เป็นการนำเศษโฟมเก่ามาผสมกับ คอนกรีตแทนที่มวลรวมหยาบและมวลรวมละเอียด ในการทำคอนกรีตบล็อกประดับ จากผลการวิจัยการผลิตคอนกรีตบล็อกประดับ ปรากฏว่าได้อัตราส่วนที่เหมาะสมคือ ปูนซีเมนต์ : ทราย : โฟม เท่ากับ 1:0.5:4 และ อัตราส่วนน้ำต่อซีเมนต์ 0.5 ความดันประมาณ 275 กก/ซม2 จะได้ความหนาแน่น ประมาณ 1400 กก/ม3 ผล การทดสอบที่อายุ 28 วัน ปรากฏว่า ได้ค่ากำลังอัดเฉลี่ยเท่ากับ 58.92 กก/ซม2 ความหนาแน่นเฉลี่ยเท่ากับ 1416.5 กก/ม3 ค่าการดูดซึมน้ำเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 7.73 และใช้ความดันในการอัดขึ้นรูปที่ 275 กก/ซม2 ผลการทดสอบการนำความร้อน ได้ค่า การนำความร้อนเท่ากับ 0.0367 วัตต์/เมตร.เคลวิน และ ค่าความต้านทานความร้อนเท่ากับ 27.24 เมตร.เคลวิน/วัตต์ จากผลการวิจัยสรุปคุณสมบัติของคอนกรีตบล็อกประดับได้ว่า เป็นวัสดุก่อสร้างผนังที่มีความแข็งแรงสามารถรับน้ำหนัก ได้…

คอนกรีต 5 ประเภท รู้ไว้ใช่ว่า

“คอนกรีต” หรือที่คนภายนอกวงการก่อสร้างว่า “ปูน” เป็นวัสดุที่ได้มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่องยาวนาน จึงทำให้ทุกวันนี้มีคอนกรีตมากมายหลายประเภท ความรู้ด้านคอนกรีตเป็นสาขาหนึ่งที่เรียกว่า “Concrete Technology” ซึ่งผู้เรียนเป็นวิศวกรโยธาต้องศึกษาเพื่อนำมาใช้งาน การจะใช้งานคอนกรีตต้องทำให้อยู่ในสภาพเหลว (โดยการผสมน้ำ) เพื่อที่จะได้เทลงในแบบหล่อให้เป็นรูปร่างต่างๆ เมื่อแข็งตัวและแกะแบบหล่อออกก็สามารถใช้เป็นโครงสร้างรับแรงตามที่วิศวกรออกแบบ และเมื่อนำเหล็กซึ่งรับแรงอัดและแรงดึงได้มากมาประกอบกัน ก็จะได้โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กที่ใช้งานได้ตามต้องการ การที่คอนกรีตแบ่งได้หลายประเภทเนื่องจาก “ผงซีเมนต์” ที่เป็นส่วนผสมหนึ่งของคอนกรีตได้ถูกผลิตขึ้นมาด้วยวัตถุประสงค์หรือประโยชน์ใช้งานที่แตกต่างกัน ซึ่งทั่วไปมีถึง 5 ประเภท เรียกเป็นซีเมนต์ประเภท 1, ประเภท 2 จนถึงประเภท 5 5 ประเภทคอนกรีตเหมาะกับงานแบบไหน โดยซีเมนต์ที่ใช้ทำคอนกรีตโครงสร้างทั่วไปคือประเภท 1 ซีเมนต์ประเภท 3 หรือซีเมนต์ประเภท 5 คือ ซีเมนต์สำหรับโครงสร้างที่ต้องการให้มีความต้านทานต่อการกัดกร่อนสูง เช่น โครงสร้างที่อยู่ใกล้ทะเลหรือโครงสร้างที่อยู่ในทะเล รวมถึงโครงสร้างที่จมอยู่ในน้ำ ซึ่งโครงสร้างเหล่านี้ต้องสามารถทนการกัดกร่อนได้สูง นี่คือตัวอย่างของซีเมนต์ที่ถูกแบ่งเป็นประเภทต่างๆ ให้ตรงกับการใช้งาน แต่ยังมีซีเมนต์อีกประเภทหนึ่งที่ไม่เหมาะกับการใช้ทำโครงสร้างเนื่องจากให้กำลังอัดที่ต่ำ แต่ถูกผลิตขึ้นมาให้เหมาะสำหรับทำงานก่อฉาบเท่านั้น ดังนั้นซีเมนต์ที่ขายทั่วไปตามร้านขายวัสดุก่อสร้างมักจะมีเพียง 2 ประเภท คือซีเมนต์ประเภท 1 (Portland Cement) สำหรับงานโครงสร้าง และอีกประเภทที่สำหรับใช้ทำงานก่อฉาบ ผมขอยกตัวอย่างให้ท่านผู้อ่านได้ทราบ…

คอนกรีตผสมเสร็จ คือ

คอนกรีต คือ วัสดุก่อสร้างชนิดหนึ่ง ที่ใช้ในการก่อสร้าง อาคาร และ สาธารณุปโภค ต่างๆ ตั้งแต่ ขนาดใหญ่ จนถึง ขนาดเล็ก เช่น อาคาร บ้านเรือน สะพาน และ เขื่อน ซึ่งประกอบด้วยส่วนผสม 2 ส่วนคือ วัดสุประสาน ได้แก่ ปูนซีเมนต์และน้ำ ผสมกับ วัสดุผสม ได้แก่ ทราย หิน หรือ กรวด และสารผสมเพิ่มต่างๆ เมื่อนำมาผสมกันจะคงสภาพเหลวอยู่ช่วงเวลาหนึ่ง ซึ่งนานพอที่จะนำไปเทลงในแบบหล่อที่มีรูปร่างตามต้องการ เมื่อคอนกรีตแข็งตัวเต็มที่แล้ว จะมีความแข็งแรงและสามารถรับน้ำหนักได้มาก ทั้งนี้จะแปรไปตามอายุของคอนกรีต ที่เพิ่มขึ้น ช่วงที่วัสดุต่างๆผสมกันจะคงสภาพเหลวอยู่ช่วงเวลาหนึ่ง เราเรียกคอนกรีตช่วงนี้ว่า คอนกรีตสด (Fresh concrete)หลังจากเทเข้าแบบคอนกรีตจะเริ่มก่อตัวและแข็งตัวขึ้นตามลำดับจนถึงสภาพที่ใช้งานได้ โดยในช่วงของการก่อตัวและแข็งตัว แล้ว เราเรียกว่าคอนกรีตแข็งตัว (Hardened concrete) คอนกรีต โดยทั่วไปประกอบด้วย ปูนซีเมนต์ น้ำ มวลรวม และ สารผสมเพิ่ม…

พื้นคอนกรีตพิมพ์ลาย  (Stamped Concrete)

พื้นคอนกรีตพิมพ์ลาย  (Stamped Concrete) หากถามว่าทำไหมคอนกรีตพิมพ์ลายถึงได้รับความนิยม ตั้งแต่ปี 1978 คำตอบคือ คอนกรีตพิมพ์ลาย (Stamped Concrete) มีต้นทุนต่ำกว่าการใช้วัสดุธรรมชาติของจริง แต่เมื่อผลิตเสร็จแล้วจะมีความงามเหมือนหินธรรมชาติ สามารถเพิ่มมูลค่าให้กับชิ้นงานได้ และยังมีความทนทาน แข็งแรง นับเป็นงานพื้นประเภทหนึ่งที่เป็นที่ดึงดูดใจของการก่อสร้างอย่างมาก คอนกรีตพิมพ์ลาย ( Stamped Concrete ) คือ เทคโนโลยีการพิมพ์ลวดลาย ลงบนผิวหน้าคอนกรีต สามารถเพิ่มสีเพื่อเสริมความแกร่ง และช่วยให้เกิดสีสันที่สวยงาม คอนกรีตพิมพ์ลาย ( Stamped Concrete ) สามารถพบเห็นได้ทั่วไป ทั้งในบ้านบ้านคลาสสิกในประเทศแถบตะวันตก อย่าง อิตาลี สเปน อังกฤษ หรือฝรั่งเศส เป็นต้น หรือนำมาทำเป็นพื้นถนน พื้นลานจอดรถ พื้นวงเวียน ทางเท้า พื้นสวน โชว์รูม สวนสนุก ขอบสระว่ายน้ำ ระเบียงร้านค้า และอื่นๆ Cr. https://cmould.co.th/2018/11/20/พื้นคอนกรีตพิมพ์ลาย-stamped-concrete/

ผนังคอนกรีตพิมพ์ลาย / ชิ้นส่วนคอนกรีตสำเร็จรูป

ผนังคอนกรีตสำเร็จรูป หรือ Precast concrete คือทางเลือกใหม่สำหรับการก่อสร้างที่ต้องการความสะดวก ความแข็งแรง ไม่ต้องไปหล่อขึ้นรูปหน้างาน หรือก่ออิฐฉาบปูนแบบเก่าอีกต่อไป การหล่อผนังคอนกรีตสำเร็จรูปนั้นทำให้ได้ปูนที่มีความแข็งมากขึ้น ทนทาน อีกทั้งช่วยลดระยะเวลาการก่อสร้าง และลดต้นทุนเรื่องแรงงานไปในตัว ในปัจจุบันงาน Precast concrete สามารถเพิ่มมูลค่าได้ด้วยลวดลายที่เพิ่มเข้าไปบนผนัง ทำให้เกิดความสวยงาม และมีสีสันมากขึ้น ข้อดีของคอนกรีตพิมพ์ลายสำเร็จรูป คอนกรีตพิมพ์ลายสำเร็จรูปมีความแข็งแรงเพราะเราใช้ปูนคอนกรีตผสมเสร็จที่มีกำลังอัดสูง สามารถรับน้ำหนักได้เป็นอย่างดี คอนกรีตพิมพ์ลายสำเร็จรูปมีความประหยัดในด้านค่าใช้จ่ายกว่า ทั้งด้านเวลา ค่าคนงาน และไม่เปลืองค่าวัสดุซ้ำซ้อน คอนกรีตพิมพ์ลายสำเร็จรูปมีลวดลาย และสีสัน ที่คุณสามารถเลือกได้ ดังจินตนาการของคุณ คอนกรีตพิมพ์ลายสำเร็จรูปไม่ก่อเกิดตะไคร่น้ำอันอาจจะเกิดขึ้นได้บนชิ้นงาน คอนกรีตพิมพ์ลายสำเร็จรูปมีคุณภาพดี แข็งแรง คงทน รับน้ำหนักได้ดี แต่ราคาถูก   จากที่กล่าวมาทั้งหมด ทาง Cmould ได้มีน้ำยา Polyurethane สำหรับหล่อขึ้นรูปเป็นแม่พิมพ์ได้ ด้วย 10 ขั้นตอนง่าย ๆ คลิก! แม่พิมพ์คอนกรีตที่ทำจาก Polyurethane มีความยืดหยุ่นดี แข็งแรง เหนียว ไม่ฉีกขาดง่าย ทนทานต่อสารเคมีและความร้อนจากปูน ไม่หดตัว มีอายุการใช้งานยาวนาน และที่สำคัญ…

ซีเมนต์ กับ คอนกรีต ต่างกันอย่างไร?

ปูนซีเมนต์ + น้ำ + ทราย นี่แหละคือ “คอนกรีต” เทคโนโลยีการก่อสร้างบ้านเรือนเป็นอาคารปูนในประเทศไทยนั้น มีมาอย่างยาวนานกว่า 1,000 ปีแล้ว สังเกตเห็นได้จากโบราณสถาน วัด หรือ เทวาลัยต่าง ๆ ที่ไม่ได้นำแค่หินมาวางสร้างเป็นปราสาท แต่มีการผสานก่อนหินด้วยเคมีภัณฑ์ที่รวมวัสดุเหล่านั้นให้เป็นอาคารที่มีความแข็งแรง แต่ก็ยังมีชื่อเรียกที่สลับกันระหว่าง “ซีเมนต์” กับ “คอนกรีต” ที่ทำให้เราสับสนได้ว่ามันคืออะไร? เมื่อต้องการสร้างบ้านหากเรียกวิธีใช้วัสดุผิด ก็อาจได้บ้านที่ความแข็งแรงต่างกัน เพื่อให้แยกระหว่าง “ซีเมนต์” กับ “คอนกรีต” ด้ออกจากกัน พี่จระเข้มีวิธีอธิบายดังนี้ครับ ง “ซีเมนต์” ก็คือ ผงสารเคมี หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ วัสดุ ที่นำไปใช้ผลิตคอนกรีต (เท่ากับว่าซีเมนต์ เป็นส่วนย่อยของคอนกรีตนั่นเองครับ) เนื้อซีเมนต์ที่เป็นผง ๆ นี้ ได้รับการจดสิทธิบัตรของชาวอังกฤษในชื่อ ซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ เนื่องจากการคิดค้นเพื่อให้ได้มานี้ ทำให้สีของผงซีเมนต์ มีสีคล้ายกับหินของเกาะปอร์ตแลนด์ ในประเทศอังกฤษ โดย โยเซฟ แอสป์ดิน ในราวปี พ.ศ. 2367 วิธีการสร้างซีเมนต์ ทำมาจาก หินปูน…

ความสำคัญของคอนกรีต

1.ความสำคัญของคอนกรีต บทนำ                 เนื่องจากปัจจุบันคอนกรีตมีสำคัญกับงานก่อสร้างซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาของประเทศ     เมื่อเปรียบเทียบวัสดุก่อสร้างที่ใช้งานในประเภทเดียวกัน เช่น ไม้  ซึ่งเป็นวัสดุก่อสร้างหลักในสมัยก่อนและปัจจุบันไม้เป็นของหายาก พบว่า คอนกรีตมีความคงทน  แข็งแรง  สามารถปรับปรุงส่วนผสมเพื่อให้ตรงกับการใช้งานได้อย่างเหมาะสม  คอนกรีตจึงเป็นวัสดุที่ใช้งานอย่างแพร่หลาย 2.หลักการ คอนกรีต เป็นวัสดุผสมที่นิยมใช้ในงานก่อสร้างประกอบด้วย 3 ส่วนหลักคือ ปูนซีเมนต์ วัสดุผสม (เช่น หิน ทราย หรือ กรวด) และ น้ำ โดยอาจจะมีสารเคมีเติมเพิ่มเข้าไปสำหรับคุณสมบัติด้านอื่น เมื่อผสมเสร็จคอนกรีตจะแข็งตัวอย่างช้าๆ ซึ่งน้ำและซีเมนต์จะทำปฏิกิริยาทางเคมีกันในลักษณะที่เรียกว่าการไฮเดรชัน โดยซีเมนต์จะเริ่มจับตัวกับวัสดุอื่นและแข็งตัว ซึ่งในสถานะนี้จะนิยมเรียกกันว่าคอนกรีต ความแข็งแรงของคอนกรีตจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆหลังจากที่ผสม และยังแข็งแรงขึ้นภายหลังจากการแข็งตัว โดยประมาณหลังจากแข็งตัวแล้ว 28 วัน ความแข็งแรงจะเริ่มคงที่ คอนกรีตมีใช้กันในงานก่อสร้างหลายชนิด ซึ่งรวมถึง อาคาร ถนน เขื่อน สะพาน อนุสาวรีย์ และงานก่อสร้างต่างๆ ซึ่งมีเห็นได้ทั่วไป คุณสมบัติหลักของคอนกรีตคือการรับแรงอัดสูง ในขณะที่สามารถรับแรงดึงได้ต่ำ (ประมาณ 10% ของแรงอัด) โดยเมื่อต้องการให้คอนกรีตสามารถรับแรงดึง จะมีการเสริมวัสดุอื่นเพิ่มเข้าไปในคอนกรีตโดยจะเรียกว่า คอนกรีตเสริมแรง หรือคอนกรีตเสริมเหล็กที่เรียกกัน (โดยเสริมแรงด้วยเหล็ก) วัสดุเหล่านี้จะช่วยรับแรงดึงภายในคอนกรีต ซึ่งงานโครงสร้างอาคารส่วนใหญ่นิยมใช้คอนกรีตเสริมแรงแทนที่คอนกรีตเปลือย นอกจากนี้ในงานก่อสร้างยังมีการใช้วิธีการที่เรียกว่า คอนกรีตอัดแรง โดยทำการใส่แรงเข้าไปในคอนกรีตหล่อสำเร็จที่ หล่อมาจากโรงงาน โดยเมื่อนำไปใช้งาน แรงที่ใส่เข้าไปในคอนกรีตจะหักล้างกับน้ำหนักของตัวคอนกรีตเองและน้ำหนักที่ เพิ่มขึ้นมา ซึ่งวิธีการนี้จะทำให้คอนกรีตสามารถรับน้ำหนักได้เพิ่มมากขึ้น โดยงานสะพานและทางยกระดับ นิยมใช้คอนกรีตอัดแรงคอนกรีต จะมีสัดส่วนปูนซีเมนต์ต่อทราย ต่อหิน ดังนี้ สัดส่วน 1 : 1.5 :…